Understanding Emotional Boundaries: The Complexity of Empathy

Understanding Emotional Boundaries: The Complexity of Empathy


Oftentimes, we may find that someone we expect to understand our pain seems oblivious to it. However, the divide in understanding and empathy might run deeper than it appears. As Daniel Goleman observed in "Emotional Intelligence" (1995), perceiving another person's emotions isn't always whole-hearted. People tend to shield themselves from their own pain or problems first.

Feelings of sadness or being belittled can lead to challenging mental states, such as depression or bipolar disorder. These conditions often result from various overlapping factors, as Aaron T. Beck explained in "Cognitive Therapy of Depression" (1979). Our thought processes can serve as both poison and remedy, much like Beck noted.

From a common standpoint, problem-solving may seem straightforward. Stephen R. Covey's insightful remarks in "The 7 Habits of Highly Effective People" (1989) suggest that understanding others' experiences is more profound than we think and often more intricate than the issues we see.

Applying our perspective or problem-solving methods to others' issues can be likened to trying to charge an iPhone with an Android charger, as Susan David contextualized in "Emotional Agility" (2016). Each device is designed differently, and the same approach doesn't always work for problem-solving.

Therefore, comprehending the diverse life experiences of individuals via various paths helps us assess differing situations better. Understanding that there's no one-size-fits-all formula for everyone in every circumstance can provide valuable insights.

บ่อยครั้ง เราอาจพบว่าบางคราวคนที่เรารู้สึกว่าเขาน่าจะเข้าใจความเจ็บปวดของเรา กลับดูเหมือนจะไม่ได้รู้สึกอะไรเลย แต่ที่จริงแล้วเส้นแบ่งรอยกั้นของความเข้าอกเข้าใจนั้นอาจลึกกว่าที่เห็น ดังที่ Daniel Goleman ได้ตั้งข้อสังเกตในหนังสือ "Emotional Intelligence" (1995) เขากล่าวว่าการรับรู้ความรู้สึกของผู้อื่นบางครั้งอาจไม่เต็มหัวใจ เนื่องจากคนเรามักจะหนีจากความเจ็บปวดหรือปัญหาของตัวเองก่อน


ความรู้สึกของความเศร้าหมองหรือการถูกดูหมิ่นนั้นสามารถนำไปสู่ภาวะทางจิตที่ยากลำบากได้ ไม่ว่าจะเป็นภาวะซึมเศร้าหรือโรคไบโพลาร์ ที่อาจเกิดจากหลายปัจจัยทับซ้อนกัน ตามที่ Aaron T. Beck ได้เขียนไว้ใน "Cognitive Therapy of Depression" (1979) ที่การทำงานของความคิดของเรานั้นสามารถเป็นทั้งยาพิษและยาบำบัดได้เหมือนกัน


ด้านมุมมองของคนที่บ่อยครั้งอาจดูเหมือนว่าการแก้ปัญหานั้นง่ายดาย, มีคำอธิบายที่น่าสนใจจากคำกล่าวของ Stephen R. Covey ในหนังสือ "The 7 Habits of Highly Effective People" (1989) ที่อ้างว่าการทำความเข้าใจประสบการณ์ของผู้อื่นนั้นลึกซึ้งยิ่งกว่าที่คิด และมักจะสลับซับซ้อนกว่าปัญหาเฉพาะหน้าที่เราเห็น


และการเอามุมมองหรือวิธีแก้ไขของตัวเองไปปรับใช้กับปัญหาของคนอื่นนั้น อาจเปรียบเสมือนการพยายามเสียบสายชาร์จของไอโฟนเข้ากับโทรศัพท์แบบแอนดรอยด์ตามที่ Susan David ได้ให้บริบทใน "Emotional Agility" (2016) เราจะเห็นว่าอุปกรณ์แต่ละชนิดมีการออกแบบที่แตกต่างกัน และไม่สามารถใช้วิธีเดียวกันในการแก้ปัญหาได้เสมอไป


ดังนั้น ความเข้าใจประสบการณ์การใช้ชีวิตของแต่ละบุคคลที่มาจากหลากหลายเส้นทาง จะช่วยให้เรามองเห็นและประเมินสถานการณ์ที่แตกต่างกันได้ดียิ่งขึ้น และเข้าใจได้ว่าไม่มีสูตรสำเร็จเดียวที่ใช้ได้กับทุกคนในทุกโอกาส.

ความคิดเห็น

บทความที่ได้รับความนิยม